การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปัญหาที่เกิดจากการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์
รู้เท่าทันนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
การรู้เท่าทันสื่อ
(Media
Literacy) คืออะไร
ความสามารถป้องกันตนเองจากการถูกจูงใจจากเนื้อหาของสื่อ
การสามารถวิเคราะห์เนื้อหาของสื่ออย่างมีวิจารณญาณ
เพื่อให้สามารถควบคุมการตีความเนื้อหาของสื่อที่ดู ฟัง หรือมีปฎิสัมพันธ์ด้วย
แทนที่จะให้การสื่อความหมายของสื่อเป็นไปตามเจตนาของผู้ผลิตมาควบคุม
สิ่งสำคัญ
ควรมีส่วนร่วมในการพัฒนาสื่อต่าง
ๆ ให้ดีขึ้น เช่น ท้วงติงหรือร้องเรียนเมื่อพบสื่อที่ไม่เหมาะสม เรียกร้องสิทธิในฐานะเป็นผู้บริโภคสื่อ
ฯลฯ
ทำไมต้องรู้เท่าทันสื่อ
สื่อมีอิทธิพลต่อความคิดความเชื่อ พฤติกรรม
• เมื่อสื่ออยู่ล้อมรอบตัวเรา เห็นบ่อยๆ ได้ยินบ่อยๆ ก็มีอิทธิพลต่อความคิดของเราได้ คนจำนวนไม่น้อยเมื่อได้ยินคำโฆษณาผลิตภัณฑ์ในครั้งแรกก็คล้อยตาม รีบไปซื้อหามาใช้ทันที เพราะเชื่อว่าใช้แล้วคงขาวสวยเหมือนนางแบบในโฆษณา
คนไทย เป็นนักเสพสื่อตัวยง
• สถานการณ์การอ่านของเด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบัน พบว่า มีการใช้เวลาว่างในการอ่านหนังสือน้อยลง ตัวเลขจากการสำรวจของสำนักงานสถิติแห่งชาติครั้งล่าสุด พบว่า เด็กและเยาวชนใช้เวลาอ่านหนังสือเฉลี่ยวันละ 39 นาที เดิมเคยใช้เวลาอ่านเฉลี่ยวันละ 50 นาที แต่หมกมุ่นดูทีวี เล่นเกม แช็ททางมือถือ และเล่นอินเทอร์เน็ตวันละหลายชั่วโมง เป็นแนวโน้มที่แสดงให้เห็นว่า เด็กและเยาวชน หรือแม้กระทั่งผู้ใหญ่ของประเทศเราก็เป็นนักเสพสื่อตัวยง
แนวทางการรู้เท่าทันสื่อและวิเคราะห์สื่อ(Code
of
Conduct)
คุณธรรมจริยธรรมในการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมอินเทอร์เน็ตสงบสุข Arlene H.Rinaldi แห่งมหาวิทยาลัย ฟอร์ริดาแอตแลนติก จึงรวบรวมกฎกติกามารยาทและวางเป็นจรรยาบรรณอินเทอร์เน็ตหรือที่เรียกว่า Netiquette ไว้ดังนี้
จรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เป็นบทการปฏิบัติเพื่อเตือนความจำ
1. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายหรือละเมิดผู้อื่น
2. ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3. ต้องไม่สอดแนมหรือแก้ไขเปิดดูในแฟ้มของผู้อื่น
4. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5. ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6. ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมผู้อื่นที่มีลิขสิทธิ์
7. ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์
8. ต้องไม่นำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
9. ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอันติดตามมาจากการกระทำ
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกามารยาท
สภาพปัญหาในการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ปัญหาการปฏิสัมพันธ์กันระหว่างคนในสังคมลดลงกลายเป็นสังคมก้มหน้า
–การหมกมุ่นเพลิดเพลินอยู่ในโลกของตัวเอง
ทำให้การปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดน้อยลง
–การแก้ไขนั้น
อาจทำได้โดยการแบ่งเวลาในการใช้งานให้เหมาะสม
ไม่หมกมุ่นจนเกินไป
ออกไปทำกิจกรรมนอกบ้านกับครอบครัวหรือเพื่อนๆ เป็นต้น
การแก้ปัญหาในการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
2. แนวทางนี้มีหลักอยู่ว่าผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จะระมัดระวังไม่สร้างความเดือดร้อนเสียหายต่อผู้อื่น
3. สร้างความเข้มแข็งให้กับตนเอง
4. ผู้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศพึงรำลึกอยู่เสมอว่า ในสังคมของเราทุกวันนี้ยังมีคนไม่ดีปะปนอยู่ทั่วไป
5. ใช้แนวทางการควบคุมสังคมโดยใช้วัฒนธรรมที่ดี
6. แนวทางนี้มีหลักอยู่ว่าวัฒนธรรมที่ดีนั้นสามารถควบคุมและแก้ปัญหาสังคมได้ การดำรงอยู่และส่งเสริมวัฒนธรรมที่ดีไว้ เป็นสิ่งจำเป็นในยุคสารสนเทศ ยกตัวอย่างเช่น การให้เกียรติซึ่งกันและกัน ยกย่องในผลงานของผู้อื่น
7. การสร้างความเข้มแข็งให้กับสังคมชุมชน
8. ผู้รับผิดชอบในการจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและสมาชิกของสังคม พึงตระหนักถึงภัยอันตราย
9. ใช้แนวทางการเข้าสู่มาตรฐานการบริหารจัดการการให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปัจจุบันองค์กรต่างๆ
10. ใช้แนวทางการบังคับให้ปฏิบัติตามข้อกำหนดทางกฎหมาย และบทลงโทษของการละเมิด เป็นสิ่งจำเป็น ผู้บริหารระบบสารสนเทศจะต้องระบุข้อกำหนดทางด้านกฎ ระเบียบ
สรุปแล้ว หากครูรู้จักใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างชาญฉลาด ก็จะสามารถนำมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียน และหากครูช่วยสอดแทรกเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม ในการใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศให้กับนักเรียน ก็จะช่วยเป็นเกราะป้องกันให้นักเรียนสามารถใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ได้สูงสุด